ประวัติอาจารย์ ดร.อาจารย์ ดร.สุรพงศ์ รัตนะ
- หมวด: ประวัติอาจารย์ประจำสาขาวิชาวิทยาศาสตร์
- เผยแพร่เมื่อ: วันพฤหัสบดี, 24 พฤษภาคม 2561 18:30
- เขียนโดย Super User
- ฮิต: 3217
- พิมพ์
อาจารย์ ดร.อาจารย์ ดร.สุรพงศ์ รัตนะ
ประวัติและผลงานทางวิชาการ
- ข้อมูลส่วนตัว
- ชื่อ – สกุล : อาจารย์ ดร.สุรพงศ์ รัตนะ /Dr.Surapong Rattana
- ตำแหน่งทางวิชาการ : อาจารย์
- สังกัด : สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม
- อีเมล์ : This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.
- การศึกษา
- 2560 – ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต/ ปร.ด.(ชีววิทยา) คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ประเทศไทย)
- 2554 – วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต/วท.ม (สมุนไพรและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ) คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ประเทศไทย)
- 2548 – วิทยาศาสตรบัณฑิต/วท.บ.(ชีววิทยา) คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ประเทศไทย)
-
ชื่อหัวข้อวิทยานิพนธ์ในแต่ละระดับปริญญา
วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาตรี (วท.บ. ชีววิทยา)
ชื่อเรื่อง การศึกษาชีววิทยาบางประการของหม้อข้าวหม้อแกงลิง Nepenthes mirabilis (Lour) Druce.วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท (วท.ม. สมุนไพรและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ)
ชื่อเรื่อง องค์ประกอบทางเคมี ฤทธิ์การต้านปฏิกิริยาออกซิเดชั่น และฤทธิ์ต้านเซลล์มะเร็งของสารสกัดใบย่านาง Tiliacora triandra Diels.วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก (ปร.ด. ชีววิทยา)
ชื่อเรื่อง ปริมาณสาร 1-ดีออกซีโนจิริมัยซิน ปริมาณสารฟลาโวนอยด์ ฟีนอลิก ความเป็นพิษ และฤทธิ์ทางชีวภาพของหนอนไหมพันธุ์ไทย Bombyx mori Linn. -
ผลงานวิชาการ
1) Methin Phadungkit, Rujiluk Rattarom and Surapong Rattana. (2010) Phytochemical screening, Antioxidant, Antibacterial and Cytotoxic activities of Knema angustifolia extracts. Journal of Medicinal Plants Research Vol. 4(13), p. 1269-12722) Surapong Rattana, Methin Phadungkit and Benjamart Cushnie. (2010) Phytochemistry screening, Flavonoids content and Antioxidant activity of Tiliacora triandra leaf extract. The Second Annual International Conference of Northeast Pharmacy Research p. 60-63. Febuary 13-14,2010. (full proceeding)
3) อุษา ทองไพโรจน์, สาวิตรี วงศ์ตั้งถิ่นฐาน, วันชัย สังฆ์สุข, ภูวดล โกมณเฑียร และ สุรพงศ์ รัตนะ. 2554. การศึกษาความหลากหลายและพฤกษเคมีของพืชหอมในพื้นที่ป่าบุ่งป่าทาม ลุ่มแม่น้ำชี จังหวัดมหาสารคาม แก่นเกษตร 39 ฉบับพิเศษ : 384-391
4) ดวงนภา พรมเกตุ,ขนิษฐา เรืองวิทยานุสรณ์, ทัศน์วรรณ สมจันทร์ และ สุรพงศ์ รัตนะ.2555. การเสริมอบเชยในอาหารไก่กระทง ต่อระบบภูมิคุ้มกัน. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฉบับประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาสารคามวิจัย ครั้งที่ 8 วันที่ 10 กันยายน 2555.
5) Methin Phadungkit, Surapong Rattana, Benjamart Cushnie and Ladachat Taepongsorat. 2012. Chemical Constituents and In Vitro Anticancer Activitty of Tiliacora triandra. 8th Annual Conference of the European Nutraceutical Association(ENA) November, 2012. Munich, Germany.
6) ธีรพร กทิศาสตร์ และ สุรพงศ์ รัตนะ 2556 ผลการลดระดับน้ำตาลในเลือด ของสารสกัดจากใบเบญจรงค์ วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฉบับประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาสารคามวิจัย ครั้งที่ 9 วันที่ 12 กันยายน 2556; p. 760-767
7) ธีรพร กทิศาสตร์ และ สุรพงศ์ รัตนะ 2558 ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของรากและใบย่านาง (Tiliacora triandra Diels.) วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฉบับประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาสารคามวิจัย ครั้งที่ 11 วันที่ 20 สิงหาคม 2558; p. 76-79
8) Surapong Rattana, Benjamart Cushnie, Ladachart Taepongsorat and Methin Phadungkit 2016. Chemical Constituents and In Vitro Anticancer Activitty of Tiliacora triandra Leaves. Pharmacognosy Journal8(1) : P. 1-3
9) สุรพงศ์ รัตนะ และ บรรลือ สังข์ทอง 2559 ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและการหาปริมาณสารฟีนอลิกด้วยวิธี HPTLC ของสารสกัดดอกดาหลา ดอกบัวและดอกกุหลาบ.วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฉบับประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์สุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 2 (Poster presentation)
10) สุรพงศ์ รัตนะ และ บรรลือ สังข์ทอง 2559 ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและปริมาณสารฟีนอลิกทั้งหมดของสารสกัดเมทานอลของไม้ดอกหอมห้าชนิด. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฉบับประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาสารคามวิจัย ครั้งที่ 12, p. 359-365
11) สุรพงศ์ รัตนะ, บรรลือ สังข์ทอง, ปิลันธนา เลิศสถิตธนกร 2560. การแยกกรดไกลเซอไรซิคและกรดกอลลิคในสารสกัดยาธาตุอบเชยด้วยวิธีรงคเลขผิวบาง-เดนสิโตเมทรีและการตรวจหาสารต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธีไบโอออโทกราฟฟี. วารสารเภสัชศาสตร์อีสาน 13 (ฉบับพิเศษ) , P. 60 – 71.
12) Surapong Rattana, Teeraporn Katisart, Bunleu Sungthong, Chirapha Butiman. 2017. Acute and Sub-acute Toxicities of Thai Silkworm Powder (Bombyx mori Linn.) From Three Races in Male Wistar Rats and In vitro Antioxidant Activities. Pharmacognosy Journal 9(4),541-545.
13) Surapong Rattana, Teeraporn Katisart, Chirapha Butiman, Bunleu Sungthong. 2017. Antihyperglycemic effect of silkworm powder, fibroin and sericin of three Thai silkworm (Bombyx mori Linn.) races on streptozotocin-induced diabetic rats. Pharmacognosy Journal 9(4), p.559-564.
14) Teeraporn Katisart, Surapong Rattana. 2017 Hypoglycemic activity of leaf extracts from Tiliacora triandra in normal and streptozotocin-induced diabetic rats. Pharmacognosy Journal, 9(5): 621-625.
15) อรรถพล พันธุ์งาม, สุรพงศ์ รัตนะและบรรลือ สังข์ทอง 2560. ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ปริมาณฟีนอลิก และฟลาโวนอยด์ในสารสกัดตะขบฝรั่ง.วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฉบับประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาสารคามวิจัย. 563-570
งานวิจัยที่กำลังดำเนินการ
- การทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพของพืชวงศ์กะดังงา
- การศึกษาองค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์ทางชีวภาพของไม้ดอกหอม
- การศึกษาองค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์ทางชีวภาพของสมุนไพรในตำรับยาธาตุอบเชยหัวข้องานวิจัยที่สนใจ
การศึกษาองค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์ทางชีวภาพของสมุนไพรต่างๆ